สไลด์

วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

แบบฝึกหัดครั้งที่3

นายกิตติศักด์ เอกอนงค์
โปรแกรม สังคมศึกษา

514110001

1.ระบบ (System) หมายถึง การรวมกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ หรือกระบวนการต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน เพื่อให้บรรลุถึงจุดมุ่งหมายที่ได้กำหนดไว้วิธีระบบ (System Approach) การตรวจสอบผลผลิตเพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพต่อไป ซึ่งองค์ประกอบดังกล่าวจะมีความสัมพันธ์กันในการกำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน

2.ระบบโดยทั่วไป จะมีองค์ประกอบดังนี้1.สิ่งนำเข้า (Input) ได้แก่ การกำหนดปัญหา จุดมุ่งหมายทรัพยากรที่ใช้ 2.กระบวนการ (Process) ได้แก่การลงมือแก้ปัญหา การวิเคราะห์ข้อมูล การนำวัตถุดิบมาใช้ มาจัดกระทำอย่างเหมาะสมเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย 3. ผลผลิต (Output) คือผลที่ได้จากการแก้ปัญหาหรือสรุปการวิเคราะห์เพื่อประเมินต่อไป 4. ผลย้อนกลับ (Feedback) คือการตรวจสอบผลผลิตเพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพต่อไป

3.เป็นการนำเอารูปแบบของระบบมาใช้ในการจัดทำโครงร่าง และกรอบของการจัดการเรียนการสอน ทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินการเรียนการสอน เป็นไปอย่างมีขั้นตอนที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ทำให้ผลที่ได้เกิดประสิทธิผลตามจุดมุ่งหมายที่ต้องการตามแผนภาพที่แสดงให้เห็น การกำหนดระบบการสอน

4.เป็นวิธีระบบรูปแบบหนึ่งที่นำมาจากแนวคิดของไชน์พิชและคณะ (1993) โดยมีระบบการดำเนินงานตามลำดับขั้นดังนี้A = ANALYZE LEARNER'S CHARACTERISTICS การวิเคราะห์ผู้เรียน ที่สำคัญได้แก่ การวิเคราะห์พฤติกรรมเบื้องต้น และความต้องการของผู้เรียน ทั้งในด้าน 1. ข้อมูลทั่วไป เช่น อายุ เพศ ระดับการศึกษา เจตคติ ระบบสังคม วัฒนธรรม 2. ข้อมูลเฉพาะ ซึ่งเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียนการสอน เช่น ประสบการณ์เดิม ทักษะ เจตคติ ความรู้พื้นฐาน และความสามารถในบทเรียนนั้นเพียงใด S = STATE LEARNING OBJECTIVES AND CONTENT การกำหนดจุดมุ่งหมาย จุดมุ่งหมายการเรียนที่ดี S = SELECT, MODIFY OR DESIGN MOTHODS AND MATERIALS การกำหนดสื่อการเรียนการสอน อาจดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งใน 3 ประการดังนี้ คือ 1) การเลือกใช้สื่อการเรียนการสอน 2) ดัดแปลงจากสื่อวัสดุที่มีอยู่แล้ว 3) การออกแบบสื่อใหม่U = UTILIZE METHODS AND MATERIALS กิจกรรมการใช้สื่อการเรียนการสอน พิจารณาได้ 3 ลักษณะคือ 1) การใช้สื่อประกอบการสอนของผู้สอน เช่น ประกอบคำบรรยาย และอธิบาย 2) การใช้สื่อเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนของผู้เรียน เช่น ชุดการสอน บทเรียนด้วยตนเอง 3) การใช้สื่อร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน เช่น เกม สถานการณ์จำลอง และการสาธิต การมีส่วนร่วมของผู้เรียน R = REQUIRE LEARNER'S RESPONSE การกำหนดพฤติกรรมตอบสนองของผู้เรียน การเรียนรู้จะเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพที่สุดนั้น ผู้เรียนจะต้องมีปฏิกิริยาตอบสนองและมีการเสริมแรง สำหรับการพฤติกรรมการตอบสนองที่ถูกต้องอยู่เสมอE = EVALUATION การประเมินผล ควรพิจารณาทั้ง 3 ด้านคือ 1) การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) การประเมินสื่อและวิธีใช้ 3) การประเมินกระบวนการเรียนการสอน

5.1) การใช้สื่อประกอบการสอนของผู้สอน เช่น ประกอบคำบรรยาย และอธิบาย 2) การใช้สื่อเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนของผู้เรียน เช่น ชุดการสอน บทเรียนด้วยตนเอง 3) การใช้สื่อร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน เช่น เกม สถานการณ์จำลอง และการสาธิต การมีส่วนร่วมของผู้เรียน การใช้สื่อการเรียนการสอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมี ส่วนร่วมหรือได้ลงมือกระทำร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนได้มากที่สุด

6.การออกแบบจึงช่วยให้ได้แผนงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน ด้วยความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับงาน การออกแบบการสอน เป็นการวางแผนการสอนโดยใช้วิธีระบบจุดเริ่ม ของการออกแบบการสอน ก็คือ การพิจารณาองค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบและพิจารณาสภาพทั่วไปเกี่ยวกับการเรียนการสอน ดังนั้น การออกแบบระบบการสอนจึงต้องพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ด้วยการตอบคำถามสำคัญ 4 ประการ ดังนี้ 1. โปรแกรมการสอนนี้ จะออกแบบสำหรับใคร (คำตอบก็คือ ผู้เรียน ดังนั้น ขั้นแรกจึงต้องศึกษา คุณลักษณะของผู้เรียน) 2. ต้องการให้ผู้เรียนเรียนรู้อะไร หรือมีความสามารถที่จะทำอะไรได้บ้าง (คำตอบก็คือจุดมุ่งหมายการเรียน) 3. เนื้อหาวิชาหรือทักษะต่าง ๆ ที่ผู้เรียนจะต้องศึกษาให้บรรลุจุดมุ่งหมายของการเรียนนั้นจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดอย่างไร (คำตอบก็คือต้องคิดหาวิธีสอน สื่อและกิจกรรมการเรียนการสอน ฯลฯ) 4. จะรู้ได้อย่างไรว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่ หรือเกิดการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด (คำตอบก็คือ ต้องคิดหาวิธีประเมินผลการเรียนการสอน)

7.ในการเรียนทุกๆครั้งจะต้องกำหนดตัวเองให้ได้ว่า ต้องอ่านหนังสือก่อนมาเรียนทุกครั้ง แล้วเวลาเข้าเรียนก็ต้องตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอน กลับไปบ้านก็ต้องอ่านหนังสือทบทวนอีกรอบ แล้วจะได้ทำข้อสอบได้และเข้าใจในเนื้อหาที่ได้เรียนไปอย่างแท้จริง

แบบฝึกหัดครั้งที่2

นายกิตติศ้กด์ เอกอนงค์
โปแกรมสังคมศึกษา
514110001
1.เทคโนโลยีทางการศึกษา หมายถึง การนำเอาความรู้และผลผลิตทางวิทยาศาสตร์มาใช้ร่วมกันอย่างมีระบบ นวัฒกรรมทางการศึกษา หมายถึง ความคิดและวิธีการปฏิบัติการใหม่ๆทำให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
2.1.เทคโนโลยีทางการอาหาร 2.เทคโนโลยีทางการแพทย์ 3.เทคโนโลยีทางการเกษตร 4.เทคโนโลยีทางการสื่อสาร 5.เทคโนโลยีทางการค้า
3.ทัศนะทางสื่อหรือวิทยาศาสตร์กายภาพ มุ่งไปที่วัสดุ หรือผลผลิตทางวิศวกรรมเป็นสำคัญ ส่วนทัศนะทางพฤติกรรมศาสตร์มุ่งไปที่พฤติกรรมของมนุษย์
4.1.บุคคลธรรมดาสามัญ เป็นการเล่าเรียนฝึกฝนและอบรม 2.บุคคลในวิชาชีพทางการศึกษา เป็นการศึกษาศิลปะถ่ายทอดความรู้จากอดีต 3.บุคคลที่เป็นนักการศึกษา 3.1ทัศนะแนวสังคมนิยม ให้ความสำคัญกับส่วนรวมก่อนการศึกษา 3.2ทัศนะเสรีนิยม มุ่งพัฒนาบุคคลแต่ละคนให้เจริญ
5.1.ระดับอุปกรณ์การสอน 2.ระดับวิธีสอน 3.ระดับการจัดระบบการศึกษา
6.เทคโนโลยี คือเครื่องมือที่แปลกใหม่ทันสมัยสลับซับซ้อนไปด้วยเครื่องยนต์กลไก ไฟฟ้า นวัฒกรรม คือ ความคิดและการกระทำใหม่ๆ
7.1.ขั้นการประดิษฐ์คิดค้น 2.ขั้นการพัฒนาหรือขั้นการทดลอง 3.ขั้นการนำไปปฏิบัติจริง
8.1.ช่วยให้ผู้เรียนได้กว้างขวางมากขึ้น ได้สัมผัสกับสิ่งที่เรียน 2.สนองเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลมีอิสระในการแสวงหาความรู้ 3.ให้การจัดการศึกษาดีขึ้น ค้นพบวิธีการใหม่ๆ 4.มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาสื่อการสอน 5.ทำให้การเรียนรู้ไม่เน้นเฉพาะด้านความรู้เพียงอย่างเดียว
9. 1.การสอนแบบโปรแกรม 2.ศูนย์การเรียน 3.ชุดการสอน
10.1.การเพิ่มจำนวนประชากร เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาด้านต่างๆ เช่น การขาดแคลนอาหาร 2.การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เป็นปัญหาที่ต่อเนื่องจากการเพิ่มของประชากร ทำให้ต้องต่อสู้ดิ้นรน 3.ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการใหม่ๆ จำเป็นต้องได้รับการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อให้ทันกับเครื่องมือที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
11.1.คนไทยส่วนใหญ่ไม่นับถือตนเอง 2.คนไทยส่วนใหญ่ไม่เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อม 3.คนไทยส่วนใหญ่ขาดลักษณะอันพึงประสงค์ตามลักษณะสังคมไทย12.1.กล้าและรู้จักแสดงความคิดเห็น 2.สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง 3.รู้จักทำงานร่วมกันเป็นหมู่อย่างมีประสิทธิภาพ 4.รู้จักแสวงหาความรู้เอง 5.มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม